คณะกรรมการหมู่บ้าน

ที่มาและความสำคัญของวันคณะกรรมการหมู่บ้าน

คณะกรรมการหมู่บ้าน หรือ กม. จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช ๒๔๕๗ โดยถือกำหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ และในปี ๒๕๕๑ กระทรวงมหาดไทยได้ปรับปรุงโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) แล้วประกาศกำหนดให้วันที่ ๙ มีนาคม ของทุกปี เป็นวันคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่คณะกรร ...

แผนพัฒนาหมู่บ้าน

เดิมการจัดสรรงบประมาณเพื่อแก้ปัญหาให้แก่ประชาชนในระดับหมู่บ้านนั้นอาจกล่าวได้ว่า ภาครัฐจะเป็นผู้ริเริ่มและดำเนินการทั้งหมด ส่วนประชาชนในระดับหมู่บ้านซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญของประเทศและเป็นผู้ที่ประสบปัญหาจะมีโอกาสได้เข้ามามีส่วนร่วมน้อยมาก แต่เมื่อมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗๘ (๒) กำหนดให้รัฐต้องจัดระบบการบริหารราชการส่วน� ...

สิ่งที่ กม. ต้องปฏิบัติ

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยกำหนดให้แบ่ง กม. ออกเป็นคณะทำงานด้านต่างๆ แล้ว ก่อนที่คณะทำงานแต่ละด้านจะทำงานตามที่ได้รับมอบหมายก็จะต้องมีการประชุมเพื่อปรึกษาหารือแนวทางการทำงานในแต่ละเรื่องว่าควรจะเป็นอย่างไรเพื่อระดมสมองและหาทางออกร่วมกันก่อนที่จะลงมือทำงาน กล่าวคือต้อง "ร่วมกันคิด แล้วแยกกันทำ" โดยแต่ละตำแหน่งควรแสดงบทบาท ดังนี้ ผู้ใหญ่บ้าน (ประธาน ...

คณะทำงานทั้ง ๗ ด้านของคณะกรรมการหมู่บ้าน

นอกจาก กม. จะมีหน้าที่ตามกฎหมาย (มาตรา ๒๘ ตรี แห่งพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่  ๑ ๑] พ.ศ. ๒๕๕๑ ทั้ง ๖ ข้อ ข้างต้นแล้ว ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การเป็นกรรมการหมู่บ้าน การปฏิบัติหน้าที่และการประชุมของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๑ ยังกำหนดให้ กม. แบ่งออกเป็นคณะทำงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่� ...

โครงสร้างของคณะกรรมการหมู่บ้าน

กฎหมายกำหนดให้มีคณะกรรมการหมู่บ้าน หรือ กม. เป็นผู้เสนอแนะและให้คำปรึกษาผู้ใหญ่บ้านในการปฏิบัติหน้าที่ จึงถือได้ว่า กม. เกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ โดยเริ่มแรกกฎหมายกำหนดให้ กม. ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน เป็นประธานผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เป็นกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่า ๒ คน แต่ปัจจุบันกระทรวงมหาดไทย โดยกรมการปกครองได้เสนอใ ...

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมหมู่บ้าน

นอกจากในหมู่บ้านจะมีผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ที่คอยทำหน้าที่ "บำบัดทุกข์ บำรุงสุข" ให้แก่พี่น้องประชาชนในหมู่บ้านแล้ว เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้านมีประสิทธิภาพมากขึ้น กฎหมายจึงได้กำหนดให้มีคณะกรรมการหมู่บ้าน หรือ กม. เป็นผู้เสนอแนะและให้คำปรึกษาผู้ใหญ่บ้านในการปฏิบัติหน้าที่อีกด้วย คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ถือเป็นกลไกของหมู� ...